Support Unit

Learning substance

Article

Research

วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สรุปวิจัย

ชื่อวิจัย   ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน

ชื่อผู้วิจัย  สุมาลี  หมวดไธสง


ตัวแปรอิสระ         กิจกรรมกระบวนทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
ตัวแปรตาม           ความสามารถในการวิเคระห์


การจักกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศานอกห้องเรียน

           กระบวนจัดประสบการ์ณในการศึกษาความรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยพานักเรียนไปศึกษานอกห้องเรียนเพื่อศึกษาจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกห้องเรียนอย่างมุ่งหมายเพื่อให้เด็กเดิกความรู้จากประสบการณ์ตรงในสภาพที่เป็นจริงซึ่งขั้นตอนการเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยขั้นตอนหลักๆ คือ การตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหา การสร้างสมมุติฐานหรือคาดการร์คำตอบ  การออกแบบวิธีการเก็บรวมข้อมูล


1. ขั้นนำเป็นการนำสู่บทเรียน          
    โดยการสนทนากระตุ้นให้เด็กคิด
2. ขั้นรวบรวมข้อมูล                           
   เป็นกานนำหาวิธีการสอนแบบเล่านิทานแบบอภิปราย  แบบสาธิต  การเล่นเกม   การปฎิบัติทดลองและการศึกษานอกห้องเรียนเข้ามาใช้การรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคำตอบ
3. ขั้นสรุป
    เป็นการสรุปผลภายหลังจากการเล่านิทาน  การอภิปราย  การสาธิต  การเล่นเกม  การปฎิบัติทดลองและการสึกษานอกห้องเรียนโดยเด็กและครูร่วมกันสนทนาเพื่อไปสู่การสรุปผล


บันทึกอนุทินครั้งที่ 16


วันที่ 3 ธันวาคม 2557






การนำเสนอวิจัย

1. การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ได้รับการจัดประสบการรณ์แบบโครงการและแบบสืบเสาะหาความรู้
3. การคิดพิจารณาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางธรมชาติเนื้อสิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย
5. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติที่มีการจัดประสบการณ์ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


การนำเสนอโทรทัศน์ครู
1.เรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. เสียงในการได้ยิน
3. เรื่องราวของเสียง
4. จิตวิทยาศาตร์
5. การทำอย่างไรให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ การสร้างบรรยากาศการเรียน






นำไปประยุกต์ใช้

ได้ความรู้เพิ่มขึ้นมากมายและได้ประสบการณ์ ในการนำไปบูรณาการใช้ในชีวิตประจำวันเป็นการเรียนรู้หล ซที่เพื่อนๆได้ออกมานำเสนอมีประโยชน์การจัดการเรียนการสอนโดยล้วนอาศัยจากทักษะเหล่านี้โดยการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้และอนาคตได้

ประเมิน

ตนเอง ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายและแต่งกายเรียบร้อย และได้ออกนำเสนอโทรทัศน์คูรก็มีการเตรียมความพร้อมมา


เพื่อน ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยคุยกัน ช่วยกันแสดงความคิดเห็นตามที่อาจารย์สอนและแนะนำ ช่วยกันทำกิจกรรมในห้องเรียน นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู


อาจารย์ ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับการสอนอย่างละเอียดและได้บอกข้อที่บกพร่องเพื่อที่จะนำคำแนะนำของอาจารย์ไปใช้ อาจารย์จะคอยซักถามเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15



วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557

การกำเนิดของเสียง 
    -ได้ฝึกทักษะการคิด การทดลอง การใช้คำถามกับเด็ก เช่น เสียงต่างกันอย่างไร และ มาจากไหน
     -กิจกรรมนี้ใช้ได้กับเด็กปฐมวัย จะต้องเปลี่ยนแปลงกิจกรรมให้ง่ายกว่าเดิมเพื่อที่จะเหมาะสมกับเด็ก


ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย(งานวิจัย)
       - การเรียนรู้เรื่องสี คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก สิ่งที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้
นิยามศัพท์ ได้ทักษะการสังเกต จำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ ทักษะการลงความเห็น


สารอาหารในชีวิตประจำวัน
       -มโนทัศน์การเรียนรู้ การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างถูกต้องตามชื่ออาหารนั้นให้ได้รสที่ต้องการ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ ปรุงอาหารเป็น รู้จักรสอาหาร เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน สนุกกับการทำงานร่วมกับเพื่อน
สิ่งที่เด็กต้องปฏิบัติ ช่วยกันวางแผนปรุงอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งที่กลุ่มเลือก และช่วยกันปรุงอาหารนั้น


ไฟฟ้าและพันธุ์พืช
        -สอนเรื่องการเจริญเติบโตของพืช โดยใช้สื่อการเรียนรู้ยอกห้องเรียน และให้นักเรียนสังเกตการณ์เจริญเติบโตของพืช จากนั้น ให้เด็กทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าและพันธุ์พืช ซึ่งจากการที่เด็กได้ลงมือทำแล้ว มีสื่อ มีอุปกรณ์ให้เด็กได้ทำการทดลองเด็กก็จะเกิดทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์


การเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย  (งานวิจัย)
      -กิจกรรมส่งให้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับทักษะความรู้ ซึ่งแสงได้อยู่รอบๆตัวเรา และนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องของแสง เพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะของเด็กปฐมวัย


การพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมทำเครื่องดื่มสมุนไพร  (งานวิจัย)
-ทักษะที่ได้จากการทำกิจกรรม
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการสื่อความหมายของข้อมูล
สรุปวิจัย
เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นเมื่อได้รับการจัดกิจกรรมการทำน้ำสมุนไพร


กิจกรรม

วัสดุอุปกรณ์
1. ไข่ไก่
2. เนย
3. แป้ง
4. น้ำ
5. ถ้วย
6. ช้อน

ขั้นตอนการทำ

เทแป้งลงภาชนะและตอกไข่ ใส่เนย เติมน้ำทีละนิด แล้วตีแป้งและส่วนประกอบอื่นๆให้เข้ากัน จนได้เนื้อแป้งที่ไม่เหลวและแข็งจนเกินไปเมื่อได้แป้งตามที่ต้องการ ตักใส่ถ้วยตวงเพื่อนำไปอบ ขณะเทแป้งลงเครื่องอบ ควรเทตรงกลางเพื่อให้แป้งสามารถกระจายได้ทั่วถึง   เมื่ออบเสร็จแล้วจะได้ วาฟเฟิล  ที่น่าหน้าตาน่ารับประทาน










นำไปประยุกต์ใช้


สามารถนำวิธีการทำวาพเฟิลไปใช้ในการเรียนสอนสำหรับเด็กปฐมวัยได้ไม่ยากจนเกินไป


ประเมิน

ตนเอง  ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบาย
            แต่งกายเรียบร้อย
            มาเรียนตรงต่อเวลา


เพื่อน ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยคุยกัน ช่วยกันแสดงความคิดเห็นตามที่อาจารย์สอนและแนะนำ ช่วยกันทำกิจกรรมในห้องเรียน  และเพื่อนๆได้นำเสนอวิจัย โทรทัศน์ครู


อาจารย์ ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับการสอนอย่างละเอียดและได้บอกข้อที่บกพร่องเพื่อที่จะนำคำแนะนำของอาจารย์ไปใช้

วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557



บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2557

กิจกรมมนำเสนอโทรทัศน์ครู/และวิจัย

  

กิจกรรมในห้องเรียน ทาโกยากิ





กิจกรรมในห้องเรียนไข่เทอริยากิ

เป็นกิจกรรมที่แสนง่ายสามารถนำไปใช้สอนเด็กได้เพราะมีขั้นตอนไม่ยุ่งยากวิธีการทำก็แสนง่ายอุปกรณ์ส่วนผสมก็หาได้ทั่วไปแถมยังมีคุณค่าทาง 


ส่วนผสม        

-ไข่ไก่    
-ข้าวสวย        
-แครอท 
-ต้นหอม         
-ปูอัด        
-ซอสปรุงรส        
 -เนย 

วิธีการทำ        
 -ตีไข่ใส่ชาม     
 -นำส่วนผสมต่างๆใส่ลงไปในไข่ในอัตราส่วนที่พอดี  -นำเนยใส่ในหลุมกระทะ         





นำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำวิธีกานทำทาโกยากิไปใช้ในการเรียนสอนสำหรับเด็กปฐมวัยได้ไม่ยากจนเกินไป




ประเมิน

ตนเอง ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายและแต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยคุยกัน ช่วยกันแสดงความคิดเห็นตามที่อาจารย์สอนและแนะนำ ช่วยกันทำกิจกรรมในห้องเรียน


อาจารย์ ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับการสอนอย่างละเอียดและได้บอกข้อที่บกพร่องเพื่อที่จะนำคำแนะนำของอาจารย์ไปใช้


สรุป โทรทัศน์ครู
อนุบาล 3 เรียนวิทยาศาสตร์สนุก ๆ (ฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์) โรงเรียนอนุบาลภาสินี
     

    วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอายุ 3– 6 ขวบ มิได้หมายถึงสาระทางชีววิทยา เคมี กลศาสตร์ แต่เนื้อหาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยคือ สาระเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กที่เด็กควรรู้ การเรียนการสอนมุ่งเพื่อให้เด็กเกิดความเข้าใจมากกว่าที่จะจำเป็นองค์ความรู้ การเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยแตกต่างจากเด็กวัยอื่นที่เด็กปฐมวัยมีการเจริญของสมองที่รวดเร็วและต้องการการกระตุ้นเพื่อการงอกงามของใยสมองในช่วงปฐมวัย แต่ขณะเดียวกันพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก อายุ 2 –6 ขวบ ยังเป็นช่วงก่อนปฏิบัติการ (pre –operative stage) เด็กเอาตนเองเป็นศูนย์กลาง (self- centered) และมองสิ่งรอบตัวโดยเน้นที่ตัวของเด็กเอง เด็กจะรับรู้และคิดถ่ายโยงเป็นทิศทางเดียวไม่ซับซ้อน เช่น รู้สี รู้รูปร่าง โดยรู้ทีละอย่าง จะเรียนรู้สองอย่างพร้อมกันไม่ได้ หรือเอามาผนวกกันไม่ได้ ซึ่งการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนเพื่อฝึกเด็กให้บูรณาการข้อความรู้ต่าง ๆ เข้าด้วยกันโดยให้เด็กรู้จักสังเกต ค้นหา ให้เหตุผล หรือทดลองด้วยตนเอง ด้วยเหตุนี้การเรียนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยจึงต้องเริ่มจากทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกต การค้นคว้าหาคำตอบ การให้เหตุผล ตามด้วยการเรียนทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ และความรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กโดยใช้ประสบการณ์จริงและการทดลองปฏิบัติ
  การสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นการสอนข้อความรู้ ซึ่งต่างจากการสอนให้รู้ข้อความรู้ตรงที่การสอนข้อความรู้ต้องการความสนใจ การสังเกต การจำ และการเรียกความจำจากความเข้าใจถ่ายโยงได้ ไม่ใช่การท่องจำซึ่งตรงกับการเรียนวิทยาศาสตร์ที่เป็นการเรียนรู้จากการให้คิดและมีเหตุผล เกิดการเข้าใจมโนทัศน์ เชื่อสานข้อมูลประยุกต์ และสรุปเป็นข้อความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งในการเรียนวิทยาศาสตร์เด็กต้องพัฒนาทักษะการคิดเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปให้ได้ ตัวอย่าง เช่น เด็กเรียนเรื่องเต่ากับหนู โดยการศึกษาเปรียบเทียบ ค้นหาข้อแตกต่างและข้อเหมือน และนำไปสู่ข้อสรุปว่า เต่ามีลักษณะอย่างไร หนูมีลักษณะอย่างไร (Hendrick, 1998 : 42) ดังนั้นการเรียนวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยจึงมิใช่การสอนให้รู้ข้อความรู้ เพราะเด็กไม่สามารถรับความรู้นามธรรมได้ เด็กปฐมวัยต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากประสบการณ์

การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กและธรรมชาติเป็นสาระหลักสำหรับเด็กปฐมวัยในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ดร.ดินา สตาเคิล (Dina Stachel) ของมหาวิทยาลัยเทอาวีพ ประเทศอิสราเอล ได้พัฒนาโปรแกรมมาทาลขึ้น เพื่อใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยเน้นให้เด็กมีความสนุกกับการเรียน รู้จักสร้างสรรค์และคิดสร้างสรรค์ สาระวิทยาศาสตร์ที่เด็กเรียนจำแนกเป็น 4 หน่วย ดังนี้ (สตาเคิล, 2542 : 12)

หน่วยที่ 1 การสังเกตโลกรอบตัว

หน่วยที่ 2 การรับรู้ทางประสาทสัมผัสและการเรียนรู้

หน่วยที่ 3 รู้ทรงและสิ่งที่เกี่ยวข้อง

หน่วยที่ 4 การจัดหมู่และการจำแนกประเภท

ในการเรียนหน่วยวิทยาศาสตร์ทั้ง 4 หน่วยดังกล่าว เด็กต้องใช้ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการสังเกต การจำแนกประเภท การสื่อความหมายและทักษะการลงความเห็นการเรียนวิทยาศาสตร์ไม่ใช่การเปรียบเทียบมิติเดียวเหมือนอย่างเช่นคณิตศาสตร์ แต่การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปคำตอบ ซึ่งเด็กสามารถเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวได้ หากครูจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก 

การทดลองในแต่ละฐาน

ฐานที่  1 วงจรไฟฟ้า

ฐานที่  2 งูเต้นระบำ 

ฐานที่  3 น้ำทรายและน้ำมัน

ฐานที่  4  หมุดลอยน้ำ


บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

วันที่ 11 พฤศจิกายน 2557







วันนี้อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มเลือกวันที่จะนำออกมาเสนอให้อาจารย์ดูและเพื่อนๆมานำเสนอแผนการสอนของแต่ล่ะกลุ่มที่ได้เตรียมกันมาแต่ได้นำเสนอแค่ 6กลุ่ม ส่วนอีก 3กลุ่มอาทิตย์นำเสนอให้จบ



กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่2 หน่วยนกหงส์หยกใช้แผนวันอังคาร
กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพดใช้แผนวันพุธ
กลุ่มที่4 หน่วยแตงโมงใช้แผนวันพฤหัสบดี
กลุ่มที่5 หน่วยกล้วยใช้แผนวันศุกร์
กลุ่มที่6 หน่วยช้างใช้แผนวันจันทร์
กลุ่มที่7 หน่วยผีเสื้อใช้แผนวันอังคาร
กลุ่มที่8 หน่วยสัปปะรดใช้แผนวันพุธ
กลุ่มที่9 หน่วยส้มใช้แผนวันพฤหัสบดี


นำไปประยุกต์ใช้


สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับเด็กในการเขียนแผนการสอนสามารถปรังปรุงและแก้ไขให้สมบูรณ์แบบเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง4ด้าน ทำให้เด็กได้เกิดทักษะทางสติปัญญา และได้นำแนวทางการสอนของเพื่อนนำไปปรับใช้กับเด็กในการสอนในการเขียนแผนการสอนได้ด้วย




ประเมิน


ตนเอง ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายและแต่งกายเรียบร้อย




เพื่อน ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยคุยกัน ช่วยกันแสดงความคิดเห็นตามที่อาจารย์สอนและแนะนำ

อาจารย์ ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับการสอนอย่างละเอียดและได้บอกข้อที่บกพร่องเพื่อที่จะนำคำแนะนำของอาจารย์ไปใช้


บันทึกอนุทินครั้งที่ 12




วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557



นี้อาจารย์ให้นั่งตามกลุ่มของตัวเอง และ อธิบายเกี่ยวกับการนำเสนอแผนการสอน ของแต่ล่ะะกลุ่ม

และอธิบายขั้นตอนการเขียนแผนว่ามีอะไรบ้าง 


1. สาระการเรียนรู้
2. เนื้อหา Mind map 
3. แนวคิด มีทั้งประโยชน์และโทษ
4. ประสบการณ์การสำคัญ
5. บูรณาการรายวิชา
6. Web ทำกิจกรรรม
- กิจกรรมประสบการสำคัญ
- การเคลื่อนไหวและจังหวะ
- ศิลปะสร้างสรรค์
- กิจกรรมเสรี 
- เกมกลางแจ้ง
- เกมการศึกษา
7. กรอบพัฒนาการ 
8. วัตถุประสงค์


นำไปประยุกต์ใช้


สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับเด็กในการเขียนแผนการสอน
สามารถปรังปรุงและแก้ไขให้สมบูรณ์แบบเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง4ด้าน ทำให้เด็กได้เกิดทักษะทางสติปัญญาและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก


ประเมิน


ตนเอง   ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายและแต่งกายเรียบร้อย


เพื่อน    ตั้งใจเรียน ไม่ค่อยคุยกัน ช่วยกันแสดงความคิดเห็นตามที่อาจารย์สอนและแนะนำ

อาจารย์   ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับกานเขียนแผนการสอนอย่างละเอียด

วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


วันที่  28    ตุลาคม   2557


กิจกรรมในห้องเรียน การทดลอง


กิจกรรมที่ 1


กิจกรรมที่ 2

กิจกรรมที่ 3


กิจกรรมที่  4



กิจกรรมที่  5


กิจกรรมที่  6







นำไปประยุกต์ใช้


สามารถนำการทดลองทั้ง 6 กิจกรรมนี้ไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับเด็กได้เรียนรู้และได้ลงมือปฎิบัติด้วยตัวเองจะทำให้เด็กมีการคิดหรือแก้ไขปัญหาในการทดลอง



ประเมิน



ตนเอง ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายและแต่งกายเรียบร้อยได้ออกไปทดลองกับกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรมนี้

เพื่อน เป็นผู้ฟังที่ดีไม่คุยกันในเวลาเรียนตั้งใจทดลองกันอย่างสนุกสานา


อาจารย์ ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับการทดลองของแต่ละกิจกรรม
บันทึกอนุทินครั้งที่  10



วันที่ 21  ตุลาคม  2557

กิจกรรมในห้องเรียน



นำไปประยุกต์ใช้


     สามารถนำสื่อการสอนไปใช้ในการเรียนการสอน เป็นสิ่งประดิษฐ์อยู่ไกล้ตัวของเด็กและเด็กก็สามารถทำได้ไม่ยากจนเกินไปเด็กจะได้ทำงานเป็นกลุ่มกับเพื่อนใหญๆได้และเด็กจะสามารถใช้เป็นของเล่นได้อีกด้วยและนำไปใช้ได้กับอนาคต


ประเมิน

ตนเอง   ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายและแต่งกายเรียบร้อยได้ออกไปนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ที่ตัวเองนำมา

เพื่อน    เป็นผู้ฟังที่ดีไม่คุยกันในเวลาเรียน
อาจารย์   ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมกับสิ้นงานประดิษฐ์ของนักศึกษา

วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9 

วันที่  14  ตุลาคม  2557


ปีนยิงลูกบอล

อุปกรณ์
ขวดพลาสติก 2 ขวด ขนาดเล็ก 1 ใบ   ขนาดใหญ่ 1 ใบและล้างให้สะอาด
  1. หนังยาง  4  เส้น 
  2. มีดคัตเตอร์
  3. เชือก
  4. กรรไกร  
  5. ลูกปิงปอง 1 ลูก
ขั้นตอนการทำ

=ใช้มีดคัตเตอร์เจาะรูตรงกลางฝาขวดพลาสติก ทั้ง 2 ฝา 

=ใช้มีดคัตเตอร์ และ กรรไกร ตัดขวดพลาสติกใบเล็ก ตรงส่วนต่อระหว่างโค้งหัวขวดกับตัวขวด และตัดขวดพลาสติกใบใหญ่ ตรงก้นขวด

=ใช้มีดคัตเตอร์เจาะรูบนขวดพลาสติก 2 รู ด้านตรงกันข้าม ให้รูห่างจากรอยตัดสัก 5 มม. ของขวดพลาสติกตั้ง 2 ใบ

=ใช้เชือกยาวประมาณ 2 ฟุต ร้อยปลายด้านหนึ่ง ผ่านรูด้านนอกของฝาขวดพลาสติกใบใหญ่ ทะลุเข้าไปในขวดฯ แล้วร้อยผ่านรูด้านนอกของฝาขวดพลาสติกใบเล็ก ผูกปมขนาดใหญ่กว่ารูที่เจาะ เพื่อมิให้เชือกหลุดรอดกลับได้

=ร้อยหนังสติ๊กผ่านรูที่เจาะไว้ข้างขวดใบเล็ก สอดปลายให้ยึดติดกับขวดใบเล็ก แล้วสอดปลายผ่านรูด้านในของขวดใบใหญ่ ทำเหมือนกันเช่นนี้ ทั้ง 2 ด้าน 

=ยึดปลายหนังสติ๊กที่ผ่านรูข้างขวดใบใหญ่ โดยใช้เชือกร้อยยึดไว้ 




วิธีการเล่น

  1. หาวัสดุน้ำหนักเบามาเป็นกระสุน เช่น ลูกปิงปอง, ดินน้ำมันปั้นก้อนกลม, ก้อนกระดาษ
  2. วางกระสุนลงในขวดใบเล็ก ใช้มือหนึ่งจับด้านนอกของขวดใบใหญ่ อีกมือหนึ่งดึงเชือกให้รั้งลงมาด้านปากขวด แล้วปล่อยมือ กระสุนจะพุ่งออกไปข้างหน้า 

หลักการของวิทยาศาสตร์  คือ  เป็นแรงดึงเมื่อเราดึงเชือกไปด้านหลัง จะเกิดการสะสมพลังงานศักย์ในเส้นยางหนังสติ๊ก เมื่อปล่อยมือ พลังงานศักย์ที่สะสมไว้ในเส้นยาง จะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ถ่ายให้กับขวดใบเล็กและกระสุน ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ไปข้างหน้า เมื่อขวดใบเล็กเคลื่อนที่ผ่านปากขวดใบใหญ่ จะถูกรั้งให้หยุดด้วยหนังสะติ๊ก พลังงานจลน์จะถ่ายเทต่อให้กับกระสุน ส่งผลให้กระสุนวิ่งตรงต่อไปข้างหน้าด้วยความเร็ว
บันทึกอนุทินครั้งที่ 8 


วัน 7 ตุลาคม  2557



ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมีการสอบกลางภาคของมหาลัย
บันทึกอนุทินครั้งที่ 7


วันที่  30  กันยายน 2557




ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์ได้ติดธุระ


วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่6

วันที่  23  กันยายน  2557
นำเสนอบทความ

คนที่1    นางสาวนภาวรรณ  กรุดเงียม       เรื่อง   สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทยาศาสตร์จากเป็ดและได้เรียนโดยมีเพลงเป็นสื่อกลาง

คนที่2   นางสาวสุธาสินี  เรื่อง  การเรียนรู้วิทยาศาสตร์นั้นไม่ควรแยกแยะควรพัฒนาเด็กในองค์รวมทั้ง 4ด้านควรเข้าใจคำถามของเด็กๆ

คนที่3  นางสาวฤมล   อิสสระ  เรื่อง  เด็กปฐมวัยอยากรู้อยากเห็นชอบตั้งคำถามว่า ทำไม

คนที่4   นางสาวยุพาดี  สนประเสริษฐ์    เรื่อง  โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร



นำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำบทความทั้ง4เรื่องไปใช้ในการเรียนการสอนสำหรับเด็กปฐมวัยได้เป็นอย่างดี

ประเมิน

ตนเอง  ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอบทความและฟังอาจารย์บรรยาย

เพื่อน  ตั้งใจเรียนไม่ไคัยกันสนใจเพื่อนที่ออกไปนำเสนอบทความและช่วยกันตอบคำถามเมื่ออาจารย์ถาม

อาจารย์   จะช่วยเสริมในสิ่งที่นักศึกษายังไม่รู้และค่อยบอกคำแนะนำต่างๆ


วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557






บทความเรื่อง มารู้จักกับสเต็มศึกษาว่าทำไมจึงมีความสำคัญ

โดย ดร.เปกกา เคส 


     การเรียนรู้ที่บูรณาการ การจัดการศึกษาทางด้านวิชาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ ตั้งแต่ระดับขั้นการศึกษาพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษาและรวมทั้งการศึกษาตลอดชีวิต โดยมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมให้ประชากรรุ่นใหม่ได้มีความรู้และทักษะการเรียนรู้ในทางสร้างสรรค์แบบใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศตวรรษที่ 21 ที่โลกเราสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาทักษะในการดำรงชีวิต เพื่อให้เยาวชนไทยก้าวสู่การแข่งขันกับประชากรโลกได้ รวมทั้งเมื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558(คศ.2015) “เสต็มศึกษา”นั้นจะช่วยพลิกโฉมการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นวิชา เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา รวมทั้งวิชาคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ โดยสเต็มศึกษานั้นเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาเหล่านี้อยู่แล้ว เพียงแต่เน้นการบูรณาการการเรียนรู้การนำไปใช้และการฝึกการคิดเพื่อแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการใหม่ ๆไม่ใช่การเรียนที่เน้นการท่องจำหรือการเรียนเพื่อนำไปสอบเท่านั้น ซึ่งการเรียนแบบสเต็มศึกษานั้น จะเน้นการลงมือปฏิบัติจริง โดยครูผู้สอนมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะตั้งคำถามให้เด็กสนใจและเรียนรู้ว่าสิ่งที่เรียนในห้องเรียนนั้นเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวในชีวิตประจำวันของเรา การพัฒนาขีดความสามารถของครู องค์ประกอบในการถ่ายทอดความรู้และการกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ งบประมาณที่จะมาดำเนินการโดยการกระทำที่เป็นระบบในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าองค์กรปกครองท้องถิ่น กระทรวงไอซีที มหาวิทยาลัยต่าง ๆ รวมทั้งภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องและชุมชนที่จะต้องให้ความร่วมมือ เพื่อให้การเรียนการสอนแนวใหม่นี้ให้มีประสิทธิภาพและสัมฤทธิผล รวมทั้งการออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับนักเรียนได้ ประเทศเกาหลีใต้ ก็เป็นประเทศหนึ่งที่ให้ความสำคัญกับระบบสะเต็ม โดยเริ่มมือสามปีที่ผ่านมาและพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้บ่อยขึ้นเพื่อตอบสนองเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยไม่ให้ความสำคัญกับวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นเมื่อหนึ่งร้อยปีที่ผ่านมาแต่ให้ความสำคัญกับวิทยาศาสตร์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและการคิดค้นวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์เพื่อใช้ในอนาคต โอบามา ก็ได้สนับสนุนนโยบายการศึกษาของระบบสเต็ม โดยการให้องค์กรเอกชนที่ลงทุนโดยไม่หวังผลกำไรมาสนับสนุนผลักดันการศึกษาระบบสเต็มเพื่อเพิ่มคุณภาพนักวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต ซึ่งเกณฑ์ประเมินตัวชี้วัดการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์จากการวัดของหน่วยงาน Tim และ Pissa ได้ดำเนินการอยู่ ในหน่วยงานความร่วมือในระหว่างประเทศรวมทั้งประเทศไทยเราด้วยสำหรับประเทศที่มีการตื่นตัวกับการศึกษาในเรื่องสเต็มกันมากไม่วาจะเป็นประเทศจีน อเมริกา อนเดีย ฯลฯ โดยจากการศึกษาพบว่าในจีนจะผลิตบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสเต็มออกมาประมาณ 3.5 ล้านคน ซึ่งประเทศไทยนั้นยังไม่ตื่นตัวและยกระดับในเรื่องนี้ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่ท้าทายมาก สำหรับคนไทยในอนาคต

                                         



วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557






สรุปความลับของแสง


       แสงคือ คลื่นชนิดเหมือนกับคลื่นของทะเลมีความยาวของแสงสั้นมากและในขณะเดียวกันและแสงมีความสำคัญมากกับการดำรงชีวิตไม่ว่าจะเป็นมนุษย์  หรือสัตว์ พืช ก็ต้องการแสงถ้าเกิดเราอยู่ในที่มืดมันก็จะเกิดแสงสว่างขึ้นมา แล้วเราก็จะเกิดการแสบตาเพราะเราปรับตัวเข้ากับแสงไม่ทัน 
ในหลักการสท้อนของแสง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุจะพุ่งไปทางทิศตรงข้ามกันตลอดเวลาเช่นเดียวกับการส่องกระจอกมักจะกลับข้างกับตัวเราอยู่เสมอ เหมือนกับการที่เราใส่นาฬิกาข้างซ้ายแต่เราสามารถส่องเห็นเป็นกระจอกได้กลายเป็นนาฬิกาข้างขวา
      

       การหักเหของแสง   มักจะเกิดขึ้นฉเพราะแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือเป็นที่ตัวกลางของแต่ละชนิด เช่น เมื่อแสงเดินผ่านอากาศเข้าสู่กระจอก ที่มีน้ำอยู่  จะมีความหนาแน่นกว่าอากาศ
      
       เงา    เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับแสง เกิดขึ้นได้โดยแสง เป็นหลักตามธรรมชาติคือเงาของวัตถุที่จะเดิกขึ้นจากแสงที่เดินทางเป็นเส้นตรงไปเรื่อยๆพื้นด้านหน้าของวัตถุแสงจะส่องไปไม่ถึงเลยไม่มีการสะท้อนที่เดิกขึ้น จึงเกิดเป็นพื้นที่สีดำๆ ก็คือเงา นั้นเอง


บันทึกอนุทินครั้งที่5

  

วันที่ 16 กันยายน 2557





                       



     อาจารย์ให้ฟังเพลงวิทยาศาสตร์แล้วก็ให้บอกชื่อเพลงที่เหมาะ
สมกับเด็กปฐมวัยโดยให้แต่ละคนบอกชื่อเพลงไม่ใ่ห้ซ้ำกันกับเพื่อน
และจากนั้นเพื่อนได้ออกไปนำเสนอบทความหน้าชั้นเรียน
คนที่1 นางสาววินัส ยอดแก้ว เรื่อง หลักสูตรวิทยาศาสตร์
คนที่2 นางสาวเจนจิรา บุตรช่าง เรื่องสอนลูกเรื่องพีช


นำไปประยุกต์ใช้
บทความที่เพื่อนออกไปนำเสนอสามารถไปสอนกับเด็กได้และไปใช้
ในอนาคตข้างหน้า


ประเมิน
ตนเอง ตั้งใจเรียนเวลาที่ครูอธิบายหรือเพื่อนออกไปนำเสนองาน

เพื่อน เป็นผู้ฟังที่ดีไม่คุยกันในเวลาเรียน
อาจารย์ ให้คำแนะนำและบอกเนื้อหาเพิ่มเติมที่นักศึกษายังไม่รู้




                         







บันทึกอนุทินครั้งที่4


วันที่ 9 กันยายน   2557




นำไปปประยุกต์ใช้
 
สามารถนำความรู้ที่ได้ใช้กับเด็กปบมวัยได้อย่างดีและไปใช้ในอนาคต


ประเมิน

ตนเอง   ตั้งใจเรียน

เพื่อน     ช่วยเหลือกันและกันไม่คุยตั้งใจเรียน

อาจารย์   บอกรายละเอียดในการทำงานและอธิบายให้นักศึกษามีความเข้าใจง่ายมากขึ้น





บันทึกอนุทินครั้งที่3





วันที่ 3 กันยายน  2557









ได้เข้าร่วมกิจกรรม
โคง   การศึกษาศาสตร์วิชาการ

อาคารพลศึกศา (ที่โรงยิม)  และได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของแต่ล่ะซุ้มอย่างมากมาย



บันทึกอนุทินครั้งที่2


วันที่ 26 สิงหาคม  2557



นำไปประยุกต์ใช้
    
    สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับเด็กปฐมวัยได้เป็นอย่างดี


ประเมิน


ตนเอง  ตั้งใจฟังอาจารย์ และจดเนื้อหาสาระที่สำคัญ

เพือน   ก็ตั้งใจเรียนไม่คุยกันเสียงดังในเวลาเรียน

อาจารย์ผู้สอน  ได้ยกตัวอย่างเข้าใจมากขึ้นในการอธิบายหรือบรรยายทำให้นักศึกษาเรียนง่ายขึ้น


บันทึกอนุทินครั้งที่1

วันที่ 19 สิงหาคม 2557






        สัปดาห์นี้เป็นการเปิดภาคเรียนในวันแรกของรายวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ไม่มีการเรียนการสอนอาจารย์แจกแนววการสอนเป็น(Coures Syllabus) และได้อธิบายเกี่ยวกับรายวิชาสิ่งที่จะสอนให้นักศึกษาได้เรียนรู้และพูดเรื่องของการเก็บคะแนของรายวิชานี้ พูดเรื่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย